Category: UNGP and NAP

Loas myanmar news report UNGP and NAP

ประชาชน 727 คน สนับสนุนยื่นฟ้อง ‘ประยุทธ์’ ต่อศาลปกครองเชียงใหม่ กรณีการจัดการฝุ่น PM 2.5 ไร้พรมแดน ประชาสังคมชี้ ก.ล.ต. คณะกรรมการกำกับตลาดทุนต้องเร่งกำกับดูแล กำหนดมาตรการและบทลงโทษที่ชัดเจนต่อกลุ่มทุนไทย สกัดต้นตอการดำเนินธุรกิจที่ไม่เป็นมิตรกับสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม

เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2566 เครือข่ายประชาชนภาคเหนือ นักวิชาการคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นพ.รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ สภาลมหายใจเชียงใหม่ สภาลมหายใจภาคเหนือ เด็ก และประชาชน รวม 10 ราย ได้ร่วมกันยื่นฟ้อง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีContinue Reading

report UNGP and NAP

“ETOs Watch” ยื่น 15 ข้อเสนอะแนะ หวัง “NAP 2” ดีขึ้นจากแผนหนึ่ง

ข้อเสนอแนะจาก ETOs Watch ต่อกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ต่อ แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 2 (2566 – 2570) การลงทุนระหว่างประเทศ และบรรษัทข้ามชาติ ในประเด็นด้านการลงทุนระหว่างประเทศ และบรรษัทข้ามชาติ ซึ่งเป็นประเด็นที่สี่ที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการฯ มีข้อเสนอ 15 ข้อ ดังต่อไปนี้

report Statement UNGP and NAP

ข้อเสนอแนะชองชุมชนและภาคประชาสังคม ต่อ ร่าง “แผน NAP2”

ข้อเสนอแนะของชุมชนและภาคประชาสังคม ต่อ ร่าง “แผนปฏิบัติการระดับชาติ ว่าด้วย ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 2” โดย เครือข่ายชุมชนและภาคประชาสังคมติดตามสถานการณ์ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (Community and Civil Society Coalition for Business and Human RightsContinue Reading

myanmar report UNGP and NAP

บริษัทของรัฐบาลไทยเตรียมเพิ่มหุ้นบ่อก๊าซในเมียนมา จ่ายค่าอาวุธให้คณะรัฐประหารใช้ฆ่าประชาชน ขณะที่คนไทยอาจต้องจ่ายค่าไฟฟ้าแพงขึ้น

โดย “ร่มสายน้ำ” ช่วงกลางเดือนมีนาคมที่ผ่านมา เกิดข่าวใหญ่ในแวดวงพลังงานที่เชื่อมโยงถึงสถานการณ์ในประเทศเมียนมาอย่างมาก หลังจากที่บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. (ซึ่งถือหุ้นใหญ่ 63.79% โดยบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งถือหุ้นใหญ่ 51.11% อีกทีโดยกระทรวงการคลังของรัฐบาลไทย)Continue Reading

news UNGP and NAP

ธปท. จับมือ IFC ร่วมส่งเสริมการเงินเพื่อความยั่งยืน

ต้นฉบับจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/Activities/Pages/BOT_IFC.aspx?fbclid=IwAR1hXCnnBiSkN0Kv22NOH3IU-eBzR6ay4849MvZkXXhmaVCFbkdUSE17K5c เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2563 นางนวอร เดชสุวรรณ์ ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และ นายวิครัม คูมาร์ หัวหน้าสำนักงานประจำประเทศไทย บรรษัทเงินทุนระหว่างประเทศ International FinanceContinue Reading

Dams Loas news NHRC UNGP and NAP

กสม.แจง การตรวจสอบเขื่อนลาวแตกอยู่นอกอำนาจรับผิดชอบ

จากกรณีโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำเซเปียน-เซน้ำน้อย ในแขวงอัตตะปือ ทางภาคใต้ของสปป.ลาว ได้เกิดเหตุการณ์เขื่อนปิดกั้นช่องเขาต่ำ หรือ Saddle Dam D ซึ่งเป็นเขื่อนดิน กว้าง 8 เมตร ยาว 770 เมตร สูง 16 เมตร ได้ทรุดตัวและพังทลาย ในวันที่Continue Reading

Dams Loas NHRC UNGP and NAP

เปิดรายงานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน กรณีเขื่อนเซเปียน – เซน้ำน้อยแตก

3 สิงหาคม 2563 หลังจากที่ตัวแทนคณะทำงานติดตามความรับผิดชอบของการลงทุนข้ามพรมแดน (ETOs Watch Coalition) ได้ร้องเรียนไปยังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2561 ให้มีการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากกรณีเหตุการณ์พังทลายของเขื่อนเซเปียน – เซน้ำน้อย ในแขวงอัตะปือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่ทำให้เกิดน้ำท้วมเฉียบพลันในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ประชาชนกว่า 6,000Continue Reading

Statement UNGP and NAP

จดหมายเปิดผนึกถึงคณะทำงานแห่งสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน เรียกร้องการมีส่วนร่วมมากขึ้นของชุมชนชายขอบในการดำเนินงานของภาคธุรกิจ

9 มิถุนายน 2563 เรียน คณะทำงานแห่งสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (UNWG),สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP), องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO), กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF), องค์การเพื่อการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพิ่มพลังของผู้หญิงแห่งสหประชาชาติ (UN  Women) และคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP) คณะทำงานติดตามความรับผิดชอบของการลงทุนข้ามพรมแดน (ETOs Watch Coalition)[1] การประชุมสหประชาชาติผ่านอินเตอร์เน็ตเรื่องธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน: ปัญหาท้าทายใหม่ แนวทางการดำเนินงานใหม่Continue Reading

report UNGP and NAP

UNGP and NAP (UPDATE)

UNGP และ NAP UNGP คืออะไร? หลักการชี้แนะแห่งสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) เป็นหลักการที่สหประชาชาติได้ให้การรับรองขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการป้องกันผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนจากธุรกิจ โดยมีการกำหนดหน้าที่ให้ภาครัฐและธุรกิจมีหน้าที่รับผิดชอบ โดยกำหนดให้ภาครัฐมีหน้าที่คุ้มครองสิทธิของประชาชนจากการถูกละเมิดโดยการประกอบธุรกิจ ส่วนภาคธุรกิจมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการเคารพสิทธิมนุษยชนContinue Reading